HOME.TITLE
Blog
Blog
ประโยชน์ของ โซเดียมไฮโปรคลอไรท์
จากกระแสนิยมที่คนหันมาให้ความสำคัญเกี่ยวกับเรื่องของสุขภาพ และสุขอนามัยมากขึ้น โดยหันมาใช้ผลิตภัณฑ์ต่างๆที่ทำจาก Organic และพยายามลดการใช้สารเคมีต่างๆ เพราะการใช้สารเคมีเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เชื้อโรคดื้อยา จะเห็นกันตามข่าวว่ามีไวรัสสายพันธุ์ใหม่ๆ มากมายเกิดขึ้น หรือการระบาดของโรคมือเท้าปากในเด็กอยู่ช่วงหนึ่ง ทำให้คนหันมาให้ความสำคัญกับการลดการใช้สารเคมีและดูแลรักษาความสะอาดกันมากขึ้น
จึงได้มีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่จะมาทดแทนการใช้น้ำยาทำความสะอาดที่ผลิตจากสารเคมีต่างๆ ซึ่งหนึ่งในเทคโนโลยีที่ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายทั่วโลก คือ “เครื่องผลิตน้ำอิเล็กโทรไลต์” ด้วยกระบวนการ “อิเล็กโทรลิซิส” โดยใช้กันอย่างแพร่หลายในวงการแพทย์ และในโรงพยาบาล เป็นต้น
นักวิจัยและพัฒนาสินค้าจึงได้นำหลักการทางวิทยาศาสตร์ได้นำกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่เรียกว่า “อิเล็กโทรลิซิส (Electrolysis)” มาใช้แปรสภาพน้ำเกลือ (เกลือละลายในน้ำประปา) โดยกระบวนการนี้เกิดจากการนำพลังงานไฟฟ้าผ่านน้ำทำให้สารประกอบต่างๆในน้ำเกลือให้แตกตัวเป็นไอออน และเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชั่นกัน ซึ่งในน้ำเกลือนี้จะมีสารประกอบใหม่เกิดขึ้น ซึ่งเป็นกรดธรรมชาติที่ชื่อว่า “โซเดียมไฮโปคลอไรท์ (Sodium hypochlorite) สัญลักษณ์ทางเคมี NaOCl” ซึ่งโซเดียมไฮโปคลอไรท์ตัวนี้มีประสิทธิภาพสูงในการฆ่าเชื้อไวรัส แบคทีเรีย และเชื้อรา สูงถึง 99.9%
ซึ่งในกระบวนการผลิตน้ำประปานี้ได้มีการกำหนดค่าต่างๆเพื่อให้อยู่ในมาตรฐานความปลอดภัยอยู่แล้ว และอย่างกรดไฮโปคลอรัสนั้นเป็นกรดธรรมชาติที่มีอยู่แล้วในเม็ดเลือดขาวของคนและสัตว์เลี้ยง เมื่อมีการสัมผัสกรดตัวนี้จึงไม่เกิดอันตรายกับร่างกายแต่อย่างใด
โซเดียมไฮโปคลอไรท์ (Sodium hypochlorite) เป็นสารประกอบประเภทเกลือ มีสูตรเคมี คือ “NaClO” การใช้โซเดียมไฮโปคลอไรท์ให้เกิดประโยชน์สูงสุด จะต้องเลือกความเข้มข้นที่เหมาะสมต่องานที่จะนำไปใช้
ใช้ในห้องครัว
1. ล้างผักและผลไม้ สารละลายโซเดียมไฮโปคลอไรท์มีฤทธิ์ในการฆ่าเชื้อก่อโรคและลดสารเคมี
2. ใช้สารละลายโซเดียมไฮโปคลอไรท์ในการแช่เพื่อขจัดกลิ่นอับของกล่องอาหาร
ใช้ในบริเวณบ้าน
1. ใช้สารละลายโซเดียมไฮโปคลอไรท์ถูบ้านเพื่อลดกลิ่นและฆ่าเชื้อก่อโรค
2. ใช้สารละลายโซเดียมไฮโปคลอไรท์เช็ดทำความสะอาดตามเฟอร์นิเจอร์ ของใช้ต่างๆภายในบ้าน เพื่อลดกลิ่นและฆ่าเชื้อก่อโรค
3. ใช้สารละลายโซเดียมไฮโปคลอไรท์ในการล้างทำความสะอาดห้องน้ำเพื่อลดคราบ กลิ่น และฆ่าเชื้อก่อโรค
ใช้กับสัตว์เลี้ยง
1. ใช้สารละลายโซเดียมไฮโปคลอไรท์ในการทำความสะอาดกรงลดกลิ่นและฆ่าเชื้อก่อโรค
2. ใช้สารละลายโซเดียมไฮโปคลอไรท์ในการรักษาโรคผิวหนังของสัตว์
จึงได้มีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่จะมาทดแทนการใช้น้ำยาทำความสะอาดที่ผลิตจากสารเคมีต่างๆ ซึ่งหนึ่งในเทคโนโลยีที่ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายทั่วโลก คือ “เครื่องผลิตน้ำอิเล็กโทรไลต์” ด้วยกระบวนการ “อิเล็กโทรลิซิส” โดยใช้กันอย่างแพร่หลายในวงการแพทย์ และในโรงพยาบาล เป็นต้น
นักวิจัยและพัฒนาสินค้าจึงได้นำหลักการทางวิทยาศาสตร์ได้นำกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่เรียกว่า “อิเล็กโทรลิซิส (Electrolysis)” มาใช้แปรสภาพน้ำเกลือ (เกลือละลายในน้ำประปา) โดยกระบวนการนี้เกิดจากการนำพลังงานไฟฟ้าผ่านน้ำทำให้สารประกอบต่างๆในน้ำเกลือให้แตกตัวเป็นไอออน และเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชั่นกัน ซึ่งในน้ำเกลือนี้จะมีสารประกอบใหม่เกิดขึ้น ซึ่งเป็นกรดธรรมชาติที่ชื่อว่า “โซเดียมไฮโปคลอไรท์ (Sodium hypochlorite) สัญลักษณ์ทางเคมี NaOCl” ซึ่งโซเดียมไฮโปคลอไรท์ตัวนี้มีประสิทธิภาพสูงในการฆ่าเชื้อไวรัส แบคทีเรีย และเชื้อรา สูงถึง 99.9%
ซึ่งในกระบวนการผลิตน้ำประปานี้ได้มีการกำหนดค่าต่างๆเพื่อให้อยู่ในมาตรฐานความปลอดภัยอยู่แล้ว และอย่างกรดไฮโปคลอรัสนั้นเป็นกรดธรรมชาติที่มีอยู่แล้วในเม็ดเลือดขาวของคนและสัตว์เลี้ยง เมื่อมีการสัมผัสกรดตัวนี้จึงไม่เกิดอันตรายกับร่างกายแต่อย่างใด
โซเดียมไฮโปคลอไรท์ (Sodium hypochlorite) เป็นสารประกอบประเภทเกลือ มีสูตรเคมี คือ “NaClO” การใช้โซเดียมไฮโปคลอไรท์ให้เกิดประโยชน์สูงสุด จะต้องเลือกความเข้มข้นที่เหมาะสมต่องานที่จะนำไปใช้
ใช้ในห้องครัว
1. ล้างผักและผลไม้ สารละลายโซเดียมไฮโปคลอไรท์มีฤทธิ์ในการฆ่าเชื้อก่อโรคและลดสารเคมี
2. ใช้สารละลายโซเดียมไฮโปคลอไรท์ในการแช่เพื่อขจัดกลิ่นอับของกล่องอาหาร
ใช้ในบริเวณบ้าน
1. ใช้สารละลายโซเดียมไฮโปคลอไรท์ถูบ้านเพื่อลดกลิ่นและฆ่าเชื้อก่อโรค
2. ใช้สารละลายโซเดียมไฮโปคลอไรท์เช็ดทำความสะอาดตามเฟอร์นิเจอร์ ของใช้ต่างๆภายในบ้าน เพื่อลดกลิ่นและฆ่าเชื้อก่อโรค
3. ใช้สารละลายโซเดียมไฮโปคลอไรท์ในการล้างทำความสะอาดห้องน้ำเพื่อลดคราบ กลิ่น และฆ่าเชื้อก่อโรค
ใช้กับสัตว์เลี้ยง
1. ใช้สารละลายโซเดียมไฮโปคลอไรท์ในการทำความสะอาดกรงลดกลิ่นและฆ่าเชื้อก่อโรค
2. ใช้สารละลายโซเดียมไฮโปคลอไรท์ในการรักษาโรคผิวหนังของสัตว์